การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย นางสาววรรณนิศา นวลสุข รหัสนักศึกษา 5511203662 เลขที่ 7
วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย |
วัน/เดือน/ปี 19/03/58
ความรู้ที่ได้รับ
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
- เด็กต้องมีอิสระ ทำได้ด้วยตนเอง
-การกินอยู่ การเข้าห้องน้ำ
-การแต่งตัว กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การสร้างความอิสระ- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
- อยากทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
- การได้ทำด้วยตนเอง
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
- การได้ทำด้วยตนเอง
- เชื่อมั่นในตนเอง
- เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
- ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- “ หนูทำช้า ” “ หนูยังทำไม่ได้ ”
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร , หงุดหงิด , เบื่อ , ไม่ค่อยสบาย
- หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
- เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
- มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 3-4 ปี)
การแต่งตัว
- ถอดเสื้อได้เรียบร้อย รวดเร็ว
- ใส่เสื้อ ,ถอดกระดุม ,ซิปได้คล่อง
- เก็บเสื้อแขวนใส่ตู้ได้
การกินอาหาร
- ใช้ช้อนส้อมได้คล่อง
- รินน้ำจากเหยือกใส่แก้วได้
- กินอาหารรวมกับคนอื่นในครอบครัวได้ แต่อาจอืดอาด
การอาบน้ำและการเข้าห้องน้ำ
- ชอบอาบน้ำเอง
- เล่นน้ำในอ่างจะไม่ค่อยเลิก
- อาบไม่สะอาด
- ตื่นนอนตอนกลางวันและขอให้พาไปห้องน้ำ
ทั่วไป
- บอกอายุ เพศ ชื่อนามสกุล ตนเองได้
- ทำตามคำสั่ง 2-3 อย่างได้
- แยกจากพ่อแม่ไปโรงเรียนได้
หัดให้เด็กทำเอง
- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
- ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- “ หนูทำช้า ” “ หนูยังทำไม่ได้ ”
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร , หงุดหงิด , เบื่อ , ไม่ค่อยสบาย
- หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
- เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
- มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 3-4 ปี)
การแต่งตัว
- ถอดเสื้อได้เรียบร้อย รวดเร็ว
- ใส่เสื้อ ,ถอดกระดุม ,ซิปได้คล่อง
- เก็บเสื้อแขวนใส่ตู้ได้
การกินอาหาร
- ใช้ช้อนส้อมได้คล่อง
- รินน้ำจากเหยือกใส่แก้วได้
- กินอาหารรวมกับคนอื่นในครอบครัวได้ แต่อาจอืดอาด
การอาบน้ำและการเข้าห้องน้ำ
- ชอบอาบน้ำเอง
- เล่นน้ำในอ่างจะไม่ค่อยเลิก
- อาบไม่สะอาด
- ตื่นนอนตอนกลางวันและขอให้พาไปห้องน้ำ
ทั่วไป
- บอกอายุ เพศ ชื่อนามสกุล ตนเองได้
- ทำตามคำสั่ง 2-3 อย่างได้
- แยกจากพ่อแม่ไปโรงเรียนได้
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
- แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ- เรียงลำดับตามขั้นตอน
(เช่นการเข้าส้วม)
1.) เข้าไปในห้องส้วม
2.) ดึงกางเกงลงมา
3.) ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
4.) ปัสสาวะหรืออุจจาระ
4.) ปัสสาวะหรืออุจจาระ
5.) ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
6.) ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
7.) กดชักโครกหรือตักน้ำราด
7.) กดชักโครกหรือตักน้ำราด
8.) ดึงกางเกงขึ้น
9.) ล้างมือ
10.) เช็ดมือ
11.) เดินออกจากห้องส้วมการ
11.) เดินออกจากห้องส้วมการ
กิจกรรม
2 แจกสีเทียนตามความต้องการของแต่ละคน
3 ให้ระบายสีให้เป็นวงกลมลงบนกระดาษตามอิสระ
4 จากนั้นตั้ดกระดาษให้เป็นวงกลมตามสีที่เราระบาย
5 อาจารย์บอกลักษณะนิสัยของแต่ละคนตามผลงาน
6 อาจารย์เราต้นไม้มาแปะไว้หน้ากระดานให้ทุกคนนำผลงานของตัวเองไปแปะเป็นใบไม้ตสมจินตนาการของตัวเอง
ประเมินการเรียน
ประเมินอาจารย์ กิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำวันนี้เป็นกิจกรรมที่สนุกและได้ความรู้มากมาย
ประเมินเพื่อน สนใจในกิจกรรมที่อาจารย์เรามาสอนมากเพราะเป็นกิจกรรมที่ง่ายและสนุก
ประเมินตนเอง ได้ความรู้ใหม่ๆมากมายเกี่ยวกับการบอกความรู้สึกจากสีและอีกมากมาย
วันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย |
วัน/เดือน/ปี 12/03/58
(08:30-12.20 น.)
อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
ความรู้ที่ได้รับ
- การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะภาษา
การวัดความสามารถทางภาษา
เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
ถามหาสิ่งต่างๆไหม
บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม
การออกเสียงผิด /
พูดไม่ชัด
การพูดตกหล่น
การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
ติดอ่าง
การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
ห้ามบอกเด็กว่า “พูดช้าๆ”
“ตามสบาย” “คิดก่อนพูด”
อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน
ทักษะพื้นฐานทางภาษา
ทักษะการรับรู้ภาษา
การแสดงออกทางภาษา
การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด
- วันนี้อาจารย์ให้ร้องเพลงบำบัด
- อาจารย์ให้ทำกิจกรรม
1. อาจารย์แจกกระดาษและสี
2. อาจารย์ให้จับคู่กันแล้ววาดรู้ลงบนกระดาษเป็นเส้นตรงโดยไม่ให้เส้นขาด
3. จากนั้นให้ระบายสีช่องที่ปิด
4.ผลงานที่ได้มารวมกัน
5. จากนั้นอาจารย์บอกลักษณะนิสียจากภาพที่วาด
ผลงานของฉัน
ประเมินการเรียน
ประเมินอาจารย์ อาจารย์ได้นำกิจกรรมวาดรูประบายสีแบบผ่อนคลายมาให้ทำสนุกสนานมาก
ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตื่นเต้นกับผลงานของตัวเองและมีความสุขกับการเรียน
ประเมินตนเอง วันนี้รู้สึกผ่อนคลายที่ได้ทำกิจกรรมในห้องเรียนเพราะเป็นกิจกรรมที่หน้าสนใจ
วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย |
วัน/เดือน/ปี 19/02/57
(08:30-12.20 น.)
อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
หมายเหตุ เนื่องจากวันนี้ดิฉันไม่สามารถมาเรียนได้เนื่องจากมีธุระที่ต้องไปทำจึงได้ขออนุญาตลาอาจารย์เพื่อไปทำธุระ แต่เมื่อกลับมาแล้วได้ถามรายละเอียดงานกับเพื่อนๆว่าอาจารย์ให้ทำอะไรบ้างในวันนี้
เนื่้อหาที่อาจารย์ได้สอนวันนี้คือ วันนี้มีการทบทวนเนื้อหาต่อจากสัปดาห์ที่เเล้วเพิ่มเติม เเละจากนั้นอาจารย์มีเเบบทดสอบให้นักศึกษาผ่อนคลายมีความสุุขก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่บทเรียนของสัปดาห์นี้ เรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้คือ เรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
1.ทักษะทางสังคม
-เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคมไม่ได้มีสาเหตุมาจากพ่อแม่
-การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข
กิจกรรมการเล่น
-การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
-เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็็นสื่อ
-ในช่วงแรกๆเด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อน แต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสำรวจ สัมผัส ผลักดึง
ยุทธศาสตร์การสอน
-เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร
-ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กเเต่ละคนอย่างเป็นระบบ
-จะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นเเบบใดบ้าง
-ครูจดบันทึก
-ทำเเผน IEP
การกระตุ้นการเรียนเเบบเเละการเอาอย่าง
-วางเเผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
-คำนึงถึงเด็กทุกๆคน
-ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
-เด็กปกติทำหน้าทีเหมือน ครู ให้เด็กพิเศษ
ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
-อยู่ใกล้ๆ เเละเฝ้ามองอย่างสนใจ
-ยิ้มเเละพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
-ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
การให้เเรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
-ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
-ทำโดย การพูดนำของครู
ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฏเกณฑ์
-ไม่ง่ายสำหับเด็กพิเศษ
-การให้โอกาสเด็ก
-เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง
-ครูต้องไม่ใช้ความบกพร่องของเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง
หลังจากที่เรียนเรื่องนี้เสร็จเเล้วอาจารย์ก็มีกิจกรรมให้ทำคือ ศิลปะเเละดนตรีบำบัด
-จับคู่ 2 คน ต่อกระดาษ 1 เเผ่น เลือกสีคนที่ 1 เเท่งที่คิดว่าสวย
-ตกลงกันมาใครจะเป็นเด็กพิเศษ ใครจะเป็นเด็กปกติเเละใครจะเป็นเส้นตรงใครจะเป็นจุด
-จากนั้นอาจารย์เปิดเพลง ให้คนที่ขีดเส้นตรงขีดไปตามความสึกบวกกับจังหวะเพลงเร็ว-ช้า
-คนที่เป็นจุดก็ให้จุดตรงที่เป็นวงกลม จากคนที่ขีดเส้นได้ขีดเอาไว้
-เมื่อเพลงจบให้หยุดขีดเเละจุดทันที
-จากนั้นก็ดูว่าเส้นที่เราขีดเส้นเเละจุดนั้นเกิดเป็นภาพอะไรช่วยกันมองว่าเป็นภาพอะไรเเละให้วาดรูปตามเส้นี่เกิดภาพพร้อมระบายสีให้สวยงาม
รวมรูปกิจกรรมที่เพื่อนส่งให้ดู
ประเมินการเรียน
หมายเหตุ เนื่องจากวันนี้ไม่ได้มาเรียนเลยไม่สามารถประเมินได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)